บริการ
ของเรา
ผลลัพธ์
นักเรียน
































Previous
Next
บทความ
สรุปวิธี “เพิ่มกล้าม” เข้าใจง่ายๆ ฉบับ 2023 สำหรับใครที่กำลังสับสนไม่รู้จะเริ่มต้นยังไง บทความนี้คุณจะ
– เข้าใจกลไกการสร้างกล้าม– เลือกแนวทางที่เหมาะกับตัวเอง– ได้แนวทางปฏิบัติ ที่เริ่มได้เลย การฝึกกล้ามเนื้อ มีหลายรูปแบบ ซึ่งมือใหม่มักจะสับสน “เลือกแบบไหนดี?” จะยกหนัก ยกเบา ยกเยอะๆ ใช้อุปกรณ์ เข้ายิม หรือออกที่บ้าน ซึ่งจริงๆ แล้วไม่ว่าจะอุปกรณ์อะไรก็เพิ่มกล้ามได้ เพราะสุดท้ายกล้ามจะพัฒนาได้ จะมีกลไกหลักๆ 3 แบบ มีแรงต้าน ทำให้ร่างกายสั่งให้สังเคราะห์โปรตีนเพิ่ม ทำให้กล้ามใหญ่ขึ้น เกิดความเครียดจากการเผาผลาญ ทำให้กล้ามเนื้อทนทานขึ้น เกิดการเสียหาย ทำให้กล้ามเนื้อต้องซ่อมแซม พัฒนาขึ้น ซึ่งไม่ว่าเราจะเทรนด้วยอุปกรณ์อะไรก็ตาม สุดท้ายก็หนีไม่พ้น 3 กลไกนี้ ดังนั้นจะเริ่มแบบไหนก็ได้ไม่ต้องคิดเยอะ! สิ่งที่ควรให้ความสำคัญ คือ การได้ใช้งานกล้ามเนื้อถูกวิธี และการปรับสารอาหารให้เพียงพอ สำคัญที่สุด คือ “จัดเวลา” และ “เริ่มเลย!” เพราะถ้ามัวแต่คิดมากก็ไม่ได้เริ่มสักที แล้วใช้โปรแกรมไหนดี? คำตอบ คือ โปรแกรมที่เหมาะกับ Routine ของเรา – Workout Program คือ ตารางออกกำลังกาย ซึ่งระบุว่ายกท่าไหนกี่วันต่อสัปดาห์บ้าง– Routine คือ ตารางชีวิตของเรา เช่น ตื่น ทำงาน เรียน นอน เพราะฉะนั้นโปรแกรมที่ดี คือ โปรแกรมที่เรา “ทำได้” นั่นเอง แจกฟรี! ตัวอย่างอีบุคเล่มใหม่ 𝐄-𝐁𝐨𝐨𝐤 𝐁𝐮𝐥𝐤 𝐒𝐦𝐚𝐫𝐭 𝐒𝐜𝐢𝐞𝐧𝐜𝐞 คู่มือเพิ่มกล้าม แบบมีวิทยาศาสตร์ คลิก https://bit.ly/3ZzpEhw เหมาะกับสรีระ 4 แบบ1. Skinny Fat ผอมลงพุง2. Skinny ผอมสุดๆ3. Overweight ไขมันเยอะ น้ำหนักตัวเยอะ4. Resistance Trainer มีกล้ามอยู่แล้ว ฉบับเต็ม เพียง 550.- ใส่ CODE: FS010 ลดเพิ่มอีก 10% เมื่อสั่งซื้อผ่านเว็บไซต์ https://www.fitshop-th.com/…/940089/bulk-smart-science หรือทักแชทสั่งซื้อกับแอดมินได้เลย ไม่ว่าจะยกเวทที่บ้าน
“กล้ามเนื้อก้น” เป็นกล้ามเนื้อมัดหนึ่งที่ช่วยให้แกนกลางร่างกายเราแข็งแรง หลายคนอาจคิดไม่ถึงว่า การบาดเจ็บที่หลัง ข้อเข่า หรือข้อเท้า หลายครั้งสาเหตุมาจากกล้ามเนื้อก้นที่มีความแข็งแรงไม่เพียงพอ ทำให้กล้ามเนื้อรอบข้อต่อมัดอื่นๆ นั้นทำงานเยอะมากเกินไปจนเกิดปัญหา Overuse หรือ Imbalance ตามมา เมื่อกล้ามเนื้อทำงานไม่สมดุล การกระจายน้ำหนักผิดไปจากปกติที่ควรเป็น จึงนำมาสู่อาการตึงปวดต่างๆ ได้ หากปล่อยให้ปัญหาเกิดขึ้น ทิ้งระยะเวลานานๆ อาจส่งผลให้กล้ามเนื้อและข้อต่อส่วนอื่นทำงานหนักขึ้น และมีปัญหาที่จุดอื่นๆ ตามมาได้อีกด้วย การตรวจประเมินทางกายภาพบำบัดสามารถช่วยแยกและวิเคราะห์ปัญหาได้ชัดเจนขึ้น ทำให้เราแก้ไขได้ที่ต้นเหตุจริงๆ และส่งเสริมความแข็งแรงของกล้ามเนื้อมัดต่างๆ
Overtraining Syndrome คือการทำอะไร “มากเกินไป” ไม่ดีแน่ Burn out -> Overreaching -> Overtraining BURN